สภาพทางนิเวศวิทยา :
|
นิเวศวิทยา ป่าเบญจพรรณและป่าดิบทั่วไป
ถิ่นกำเนิด
การกระจายพันธุ์
การใช้งานด้านภูมิทัศน์ ทรงพุ่มกว้าง เจริญเติบโตเร็วเหมาะกับการปลูกให้ร่มเงาริมถนนหลวง
|
การปลูกและการขยายพันธุ์ :
|
ดินร่วนซุย ระบายน้ำได้ดี แสงแดดจัด
เพาะเมล็ด
|
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ :
|
- เนื้อไม้ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน ทำเครื่องเรือน
- รากต้มน้ำดื่มขับเสมหะ แก้ร้อนใน
- ใบต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง ท้องร่วง
- เมล็ดบดเป็นผงโรยแผล ฝี หนอง...[1]
- ราก แก้อาเจียน
- เมล็ดใช้เบื่อพยาธิ แก้อักเสบ ปวดศรีษะ
- ใบอ่อนและยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสด...[2]
|
แหล่งอ้างอิง :
|
[1] คณะผู้ดำเนินงานโครงการให้ความรู้ด้านพฤกษศาสตร์แก่บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2553ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[2] เอื้อมพร วีสมหมาย และปณิธาน แก้วดวงเทียน. 2552. ไม้ป่ายืนต้นของไทย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. เอช เอ็น กรุ๊ป จำกัด. กรุงเทพมหานคร.
[3] ต้นไม้และดอกไม้ประจำจังหวัด http://www.panmai.com/ 23082553
|
ประเภทของการใช้ประโยชน์ :
|
|
ที่อยู่ :
|
|
หมายเหตุ :
|
|
รูปพรรณไม้ :
|
|
|
|